Japan Ginkgo Biloba
จัดส่งฟรี
เมื่อมีคำสั่งซื้อเกิน 1,000 บาทขึ้นไป
ทำไมเราต้องทาน Japan Ginkgo Biloba ทุกวัน?
เพราะ Ginkgo Biloba มีสารที่ชื่อว่า Flavonoids และ Terpenoids ที่เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant)
ประสิทธิภาพสูง ซึ่งมีส่วนช่วยชะลอความเสื่อมของเซลล์ต่าง ๆ ในร่างกาย และสมอง
อีกทั้งยังช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดไปยังสมองได้ดีมากขึ้น
สำหรับการบำรุงสมองควรบริโภค Ginkgo Biloba ในปริมาณ 120 มก. ต่อวัน
เช็กลิสต์อาการผู้ที่ควรเสริม GINKGO BILOBA
ความจำไม่ดี หลงลืมง่าย
มีปัญหาด้านความจำระยะสั้น และระยะยาว
โฟกัสหลุดง่าย สมาธิสั้น (ADHD)
ไม่สามารถจดจ่อกับงานที่ทำได้นาน และประมวลผลช้า
จัดระเบียบความคิดได้ไม่ดี
คิดเรื่องเดิมวน ๆ จนสมองล้า ไม่สามารถจัดระเบียบความคิดได้
คิดงานช้า ประมวลผลไม่ทัน
สมองไม่สามารถทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ
ภาวะสมองเสื่อม และอัลไซเมอร์
ทักษะการคิดวิเคราะห์ลดลง จากการเสื่อมสภาพของเซลล์ในสมอง
ในประเทศญี่ปุ่น
ส่วนประกอบสำคัญ
Japan Ginkgo Biloba
Ginkgo Biloba
120 มก.
สารฟลาโวนอยด์ (Flavonoids)
24 %
สารเทอร์ปีนอยด์ (Terpenoids)
6 %
สาร Ginkgolic Acid น้อยกว่า
1 ppm
FOR YOUR BRAIN
รายละเอียดสินค้า
KLARITY Japan Ginkgo Biloba Extract 120mg. ขนาด 60 แคปซูล
วิธีการบริโภค
ทานวันละ 1 แคปซูล พร้อมมื้อเช้า และดื่มน้ำตามมาก ๆ
วิธีการเก็บรักษา
เก็บอยู่ในที่แห้งและเย็น ให้ห่างไกลจากแสงแดด ควรปิดฝาขวดให้สนิท
ผลิตที่
ประเทศญี่ปุ่น
เลขที่ใบจดแจ้ง
13-1-21064-6-0002
คำเตือน
- ไม่มีผลในการป้องกันและรักษาโรค
- เด็กและสตรีมีครรภ์ไม่ควรรับประทาน
- อาจส่งผลให้เลือดแข็งตัวช้า
- ห้ามเคี้ยวหรือบดแคปซูล
- ควรทานอาหารครบ 5 หมู่ ในสัดส่วนที่เหมาะสม เป็นประจำ
คำถามที่พบบ่อย ?
Gingko Biloba Extract คือสารที่สกัดมาจากใบของต้น Ginkgo หรือที่คนไทยเรียกว่าต้นแปะก๊วย
Ginkgo Biloba Extract (สารสกัดใบแปะก๊วย) และ Ginkgo Seed (เมล็ดแปะก๊วย) ทั้ง 2 มีสารต้านอนุมูลอิสระ แต่สิ่งที่แตกต่างคือใน Ginkgo Seed (เมล็ดแปะก๊วย) จะมีสาร Ginkgotoxin ที่เป็นพิษต่อร่างกายมนุษย์
Ginkgotoxin เป็นสารประกอบธรรมชาติที่พบใน ใบแปะก๊วย และ เมล็ดแปะก๊วย โดยปกติ Ginkgotoxin จะพบได้ในปริมาณที่ต่ำมากในใบแปะก๊วย แต่ส่วนเมล็ดแปะก๊วยจะมีปริมาณ Ginkgotoxin ที่สูงมาก ซึ่งอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงทางหากบริโภคในปริมาณมากเกินไป เช่น การชัก หรือลมชัก เนื่องจากสารตัวนี้ยับยั้งการทำงานของวิตามิน B6 ต่อสมอง Ginkgo Biloba Extract (สารสกัดใบแปะก๊วย) ของ KLARITY ได้มีกระบวนการสกัดสาร Ginkgotoxin ออกไปทั้งหมด
กรด Ginkgolic (Ginkgolic Acid) เป็นสารที่พบในเมล็ดและใบของต้นแปะก๊วย มีคุณสมบัติต้านจุลชีพ (antimicrobial) และต้านเนื้องอก (antitumor) แต่มีพิษและสามารถทำให้เกิดอาการแพ้ในบางคนได้ โดยปกติแล้วจะมีการควบคุมปริมาณสาร Ginkgolic Acid ไม่เกิน 5 ppm เพื่อไม่ให้เกิดอาการแพ้ ซึ่ง Japan Ginkgo Biloba ของ KLARITY สามารถสกัดสาร Ginkgolic Acid เหลือไว้เพียงแค่ 1 ppm เท่านั้น จึงไม่เกิดอันตรายต่อร่างกายอย่างแน่นอน
จากงานวิจัยพบว่า ผู้ใหญ่ ควรรับประทานในปริมาณ 120 มก. ต่อวัน หรือ 1 แคปซูล
ส่วนประกอบหลักใน Japan Ginkgo Biloba มีอยู่ 2 ชนิดคือ ฟลาโวนอยด์ (Flavonoids) และเทอร์พีนอยด์ (Terpenoids) ซึ่งสารสกัดทั้งสองชนิดนี้จะมีบทบาทสำคัญในด้านการต้านอนุมูลอิสระ การบำรุงสุขภาพสมอง ปรับปรุงความจำและสมาธิจดจ่อ รวมถึงกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดไปยังสมอง เพื่อให้สมองได้รับออกซิเจนและสารอาหารที่จำเป็นอย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบ Subscription คือการสมัครสมาชิกรายเดือน เพื่อรับข้อเสนอพิเศษเพิ่มเติม โดยบริษัทฯ จะจัดส่งผลิตภัณฑ์ให้สมาชิกของเราตามจำนวนขวดที่สั่งอัตโนมัติทุกเดือน โดยที่สมาชิกไม่ต้องกดสั่งซ้ำ ๆ ทุกครั้ง สามารถยกเลิกการสมัครสมาชิก Subscription ได้ตลอดเวลาโดยการติดต่อมาที่ทีมงาน
รีวิวจากผู้ใช้จริงบนโซเชียล
คุณสามารถติดตาม KLARITY ผ่าน Instagram ของเราได้ที่ @klarity.asia
งานวิจัยเกี่ยว Omega-3
Yang G, Wang Y, Sun J, Zhang K, Liu J. Ginkgo Biloba for Mild Cognitive Impairment and Alzheimer's Disease: A Systematic Review and Meta-Analysis of Randomized Controlled Trials. Curr Top Med Chem. 2016;16(5):520-8. doi: 10.2174/1568026615666150813143520. PMID: 26268332.
Savaskan E, Mueller H, Hoerr R, von Gunten A, Gauthier S. Treatment effects of Ginkgo biloba extract EGb 761® on the spectrum of behavioral and psychological symptoms of dementia: meta-analysis of randomized controlled trials. Int Psychogeriatr. 2018 Mar;30(3):285-293. doi: 10.1017/S1041610217001892. Epub 2017 Sep 21. PMID: 28931444.
Cognitive Performance, SPECT, and Blood Viscosity in Elderly Non-demented People Using Ginkgo Biloba
Santos, R. F.; Galduróz, J. C. F.; Barbieri, A.; Castiglioni, M. L. V.; Ytaya, L. Y.; Bueno, O. F. A. DOI: 10.1055/s-2003-41197 Pharmacopsychiatry 2003; 36(04): 127 - 133